สัปดาห์ที่ 7
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจาร์ยผู้สอน อาจาร์ยจินตนา สุขสำราญ
วันที่ 30 กันยายน 2557
ครั้งที่ 7 กลุ่มเรียน 103
เวลาเรียน 08.30 - 12.20 น. ห้อง 434
อุปกรณ์
1 แกนกระดาษทิชชู่
2 กระดาษตัดเป็นรูปวงกลม
3 ไหมพรม
4 กาว
5 กรรไกร
6 สี
7 ที่เจาะรู
ขั้นตอนการประดิษฐ์
1 นำเเกนกระดาษทิชชู่มาตัดครึ่ง แล้วเจาะรู 4 รู
2 นำกระดาษมาตัดเป็นวงกลม มาแปะตรงเเกนกระดาษทิชชู่ วาดรูปลงไปให้สวยงาม
3 นำไหมพรมมาร้อยกับแกนกระดาษทิชชู่ ให้สามารถห้อยคอได้
4 จากนั้นก็ทดลองเล่น โดยการเคลื่อนขึ้นลงไปมา ได้ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เทคนิคการสอนของอาจารย์
อาจาร์ยผู้สอนให้นักศึกษาได้ใช้ความคิดแบบอิสระ ให้เด็กได้คิด และทำตามจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบภาพการ์ตูน และการเล่นอย่างไรให้สิ่งของเคลื่อนไหวได้ สิ่งที่เด็กจะได้ ได้ฝึกการสังเกต และลงมือประดิษฐ์เอง โดยมีอาจาร์ยผู้สอนให้คำปรึกษาอยู่ห่างๆ
การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำกิจกรรมงานประดิษฐ์ที่ครูสอนไปใช้ในการเรียนการสอนเด็กปฐมวัยในอนาคต และสามารถนำไปใช้ในกิจกรรมศิลปะ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว แรงดึง เเรงดัน จะทำให้เด็กมีจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ไปในตัว และได้ปฏิบัติงานด้วยตนเอง
ในรายสัปดาห์นี้ให้คะเเนนครูผู้สอน 100 คะเเนนเพราะครูสอนเข้าใจ เเต่งกายเรียบร้อย เเละเข้าสอนตรงเวลา และ power point มีความสวยงามดูแล้วมีความสะอาดตามากคะ
ในรายสัปดาห์นี้ในการเรียนการสอนมีกิจกรรมที่นำมาสอนสอดแทรก ในรายสัปดาห์นี้มี 2 กิจกรรม คือ
1. กิจกรรมลูกยาง
2. กิจกรรมแกนกระดาษทิชชู
และกิจกรรมบทความที่เพื่อนทั้ง 5 คนนำมาเสนอให้ความรู้ให้เพื่อนๆได้ฟัง ก่อนอื่นดิฉันก็ขอนำบทความที่ดิฉันมีความสนใจมาเสนอดังต่อไปนี้คะ
miss : Suagkamon Suthewi
บทความเรื่อง หลักสูตรวิทยาศาสตร์ปฐมวัย จำเป็นหรือไม่ ?
หลักสูตรวิทยาศาสตร์ปฐมวัยเป็นการส่งเสริมครูปฐมวัยให้สามารถจัดประสบการณ์ในรูปของกิจกรรมบูรณาการที่ สามารถช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยได้อย่างครบถ้วนทุกด้าน โดยไม่จำเป็นต้อง แยกออกมาสอนเป็นวิชาวิทยาศาสตร์ เพียงแต่ครูปฐมวัยควรจะตระหนักรู้ว่ากิจกรรมที่จัดให้กับเด็กในแต่ละช่วง เวลานั้น เป็นการส่งเสริมทักษะและแนวคิดทางวิทยาศาสตร์อะไรให้กับเด็กๆ และควรจะจัดกิจกรรมอย่างไรเพื่อจะสามารถตอบสนองและต่อยอดธรรมชาติการเรียน รู้ของเด็กได้อย่างเป็นระบบผลจากการติดตามการทดลองใช้ พบว่าครูสามารถที่จะนำกรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย ไปจัดกิจกรรมบูรณาการวิทยาศาสตร์ในทุกสาระที่ควรรู้ได้ในทุกสาระโดยสอดแทรก เข้าไปในทุกกิจกรรมหลักที่ครูจัดอย่างสม่ำเสมอได้ แต่สิ่งที่ครูยังมีความต้องการนั้น ครูยังต้องการตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เยอะ ๆ ซึ่ง สสวท. กำลังพัฒนาส่วนนี้อยู่
อ. ชุติมา กล่าวหลังจากนั้นได้จัดอบรมครูทั่วประเทศไปแล้วในปี พ.ศ. 2552ที่อุดรธานี เชียงใหม่ ภูเก็ต และระยอง ต่อจากนี้จะจัดอบรมให้แก่ศึกษานิเทศก์ทั่วประเทศเขตพื้นที่ละหนึ่งคน เพื่อที่จะให้ศึกษานิเทศก์ได้เป็นผู้ที่คอยให้คำแนะนำช่วยเหลือแก่ครูส่วน การดำเนินงานเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตร์ปฐมวัยในอนาคต หลังจากที่ สสวท. จัดทำคู่มือการใช้หลักสูตรเสร็จแล้ว ก็คือการชักชวนพันธมิตร เช่น ภาควิชาปฐมวัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏซึ่งมีอยู่ทั่วทุกประเทศ เป็นศูนย์การอบรมครูปฐมวัย และในขณะเดียวกัน สสวท. และคณะที่เป็นนักการศึกษาปฐมวัยที่เป็นผู้เริ่มต้นโครงการนี้ก็จะถอยมาเป็น ผู้อบรมวิทยากรอีกทีหนึ่ง “ทุก ประเทศในโลกจะสอนปฐมวัยในเชิงบูรณาการ ก็คือจะบูรณาการทุกวิชาไว้ด้วยกัน เพราะถือว่าเด็กจะต้องพัฒนาเป็นองค์รวม แต่การที่ครูจะจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการพัฒนาเด็กเป็นองค์รวมนั้น จะต้องมีมาตรฐานเป็นที่ตั้งในของแต่ละสาระ เช่น คณิตศาสตร์ควรจะเรียนแค่ไหน วิทยาศาสตร์ควรจะเรียนแค่ไหน ครูก็จะยึดเอากรอบมาตรฐานมาจัดทำเป็นหลักสูตรบูรณาการปฐมวัยของตัวเอง ทุกประเทศจะเป็นแบบนี้ รวมทั้งประเทศเราด้วย” อ.ชุติมากล่าวทิ้งท้าย
..................................................................
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมลูกยาง
อุปกรณ์
1 กระดาษหน้าปก ( Paper )
2 กรรไกร ( Scissors )
3 คลิปหนีบกระดาษ ( paperclip )
ขั้นตอนการประดิษฐ์
1 นำกระดาษที่ได้มาพับครึ่ง แล้วนำกรรไกรมาตัดเป็นแนวตรงยาวให้ชิดกับรอยพับครึ่งของกรรไกร
2 พับส่วนบนของกระดาษเข้ามา 1 เซนติเมตร
3 นำคลิปหนีบกระดาษมาหนีบไว้ด้านที่พับส่วนบนเข้ามา จากนั้นกางปีกส่วนที่โดนตัดออกไปคนละด้าน กัน
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมแกนกระดาษทิชชู่
อุปกรณ์
1 แกนกระดาษทิชชู่
2 กระดาษตัดเป็นรูปวงกลม
3 ไหมพรม
4 กาว
5 กรรไกร
6 สี
7 ที่เจาะรู
ขั้นตอนการประดิษฐ์
1 นำเเกนกระดาษทิชชู่มาตัดครึ่ง แล้วเจาะรู 4 รู
2 นำกระดาษมาตัดเป็นวงกลม มาแปะตรงเเกนกระดาษทิชชู่ วาดรูปลงไปให้สวยงาม
3 นำไหมพรมมาร้อยกับแกนกระดาษทิชชู่ ให้สามารถห้อยคอได้
4 จากนั้นก็ทดลองเล่น โดยการเคลื่อนขึ้นลงไปมา ได้ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เทคนิคการสอนของอาจารย์
อาจาร์ยผู้สอนให้นักศึกษาได้ใช้ความคิดแบบอิสระ ให้เด็กได้คิด และทำตามจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบภาพการ์ตูน และการเล่นอย่างไรให้สิ่งของเคลื่อนไหวได้ สิ่งที่เด็กจะได้ ได้ฝึกการสังเกต และลงมือประดิษฐ์เอง โดยมีอาจาร์ยผู้สอนให้คำปรึกษาอยู่ห่างๆ
การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำกิจกรรมงานประดิษฐ์ที่ครูสอนไปใช้ในการเรียนการสอนเด็กปฐมวัยในอนาคต และสามารถนำไปใช้ในกิจกรรมศิลปะ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว แรงดึง เเรงดัน จะทำให้เด็กมีจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ไปในตัว และได้ปฏิบัติงานด้วยตนเอง
ประเมินตนเอง
ในสัปดาห์นี้ให้คะเเนนตัวเอง 90 คะเเนน เพราะตั้งใจเรียน แต่งกายเรียบร้อย และมีส่วนร่วมในการตอบคำถามในห้องเรียน
ประเมินเพื่อน
ในรายสัปดาห์นี้ให้คะเเนนเพื่อน 100 คะเเนน เพราะเพื่อนตั้งใจเรียนและเเต่งกายเรียบร้อย และมีส่วนร่วมในการตอบคำถามในห้องเรียน
ประเมินครูผู้สอน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น