โทรทัศน์ครู
จุดประกายความคิด
เรื่องภาชนะจากเส้นใยธรรมชาติ
โดยคุณครูอรพิน อินทรโฆษิต โรงเรียนชลบุรี สุขบท
โดยรุ่นพี่ผลักดัน วิธีการทำวิจัย โครงงานวิทยาศาสตร์ให้รุ่นน้อง ผ่านการทำโครงการวิทยาศาสตร์โดยมีพี่ๆเป็นคนสอนน้องๆ โดยครูอรพินกล่าวว่าเทคนิคการสอนหรือสื่อการสอน ซึ่งการสอนโดยสื่อวิทยาศาสตร์ก็เป็นเทคนิคการสอนใหม่ๆ เพราะปัจจุบันทำให้เด็กเกิดทักษะต่างๆ เช่น ทักษะการคิด ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการใช้คำถาม ทักษะการทำงาน ทักษะกระบวนการกลุ่ม งานวิทยาศาสตร์จึงเปรียบเสมือนโปรเจ็คอย่างหนึ่งที่เด็กได้ทำเอง เพราะเด็กได้นำความรู้ความสามารถของตนเองออกมา ไม่ว่าจะเป็น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ศิลปะ
เทคนิคแบบโครงการจึงเป็นอีกเทคนิคหนึ่งที่สามารถนำมาพัฒนานักเรียนได้ แล้วยังบอกอีกว่า โครงการวิทยาศาสตร์มีทั้งหมด 4 ประเภท
1.โครงการแบบสำรวจ
2.โครงการเเบบทดลอง
3.โครงการสิ่งประดิษฐ์
4.โครงการทฤษฎี ( ยากสุด )
หลังจากนั้นครูให้นักเรียนเเบ่งกลุ่ม และให้คิดโครงการของกลุ่มตนเอง โดยมีรุ่นพี่มาสอนและให้ความรู้ โดยสอนให้ความรู้เรื่อง ภาชนะจากเส้นใยธรรมชาติ ซึ่งรุ่นพี่ได้รับรางวัลระดับประเทศ
ที่มา
ปัจจุบันเกิดภาวะโลกร้อน ซึ่งเกิดจากการทำลายของมนุษย์ ทั้งการทิ้งขยะ การตัดไม้ทำลายป่า การใช้ถ้วยโฟม แล้วมลพิษต่างๆ ที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจกหรือภาวะโลกร้อน ดังนั้นจึงมีไอเดียขึ้นมาว่า ถ้าเรานำพืชมาทำเป็นภาชนะแทนถ้วยโฟม เราก็จะสามารถลดภาวะโลกร้อนได้ ดังนั้นในการทำภาชนะจากเส้นใยธรรมชาติก็จะใช้พืชดังต่อไปนี้
1.สับปะรด
2.ชานอ้อย
3.ผักตบชวา
และใช้สารอีก 3 ชนิดเพื่อช่วยในการเปื่อยยุ่ยให้มากที่สุด คือสารละลายขี้เถ้า สารละลายมะกรูด สารละลายสับปะรด
สารละลายขี้เถ้า
สารละลายมะกรูด
สารละลายสับปะรด
โดยมีเปลือกส้มโอเป็นตัวสกัด เพราะเปลือกส้มโอมีสารเเพคติน ซึ่งทำให้มีความเหนียว
เปลือกส้มโอ
วิธีการทำ
นำเส้นใยมาทำเป็นแผ่นชนวน โดยนำผักตบชวาไปต้มกับน้ำขี้เถ้า แล้วทิ้งไว้ 2 ชั่วโมง หลังจากนั้นนำไปผสมกับกาว กาวมี 3 ชนิด คือ กาวเเป้งมัน กาวข้าวเหนียว กาวมะขาม
( กาวมะขามจะเหนียวมากที่สุด )
กาวแป้งมัน
กาวแป้งข้าวเหนียว
กาวมะขาว ( เหนียวที่สุด )
โดยนำมาสกัดกับเปลือกส้มโอ ก็จะได้ภาชนะที่ยับยั้งการซึมของน้ำ และได้ภาชนะที่อุ้มน้ำได้ดี แล้วน้องๆก็นำไปเป็นตัวอย่างโครงการของกลุ่มตนเอง เช่น กลุ่มโครงการไอโอซีท โครงการไบโอดีเซล โครงการการทำยาสระผมจากพืช การทำน้ำยาล้างจาน เป็นต้น
โดยรุ่นพี่กล่าวว่าทุกๆสิ่งล้วนนำมาจากของเหลือใช้ทั้งหมดที่มีในท้องถิ่น และวัสดุจากธรรมชาติ
ความรู้ที่ได้รับ
ความรู้ที่ได้รับคือ ทราบถึงการทำโครงการ และการนำวัสดุจากท้องถิ่น วัสดุจากธรรมชาติไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และความรู้นี้สามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนในอนาคตได้ และเราสามารถนำไปใช้สร้างรายได้สร้างอาชีพได้ อีกทั้งยังได้ประสบการณ์ที่ดีในการนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
หลังจากเสร็จกิจกรรมอ่านบทความที่ตนเองนำมาเสนอ วันนี้อาจารย์ผู้สอนก็นำกิจกรรมเกี่ยวกับการทำอาหารมาให้นักศึกษาได้ทดลองทำ โดยสัปดาห์นี้เป็นการทำการทดลอง เรื่องคุณสมบัติของน้ำ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ตัวแปรตาม
ที่มีผลต่อทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัย
นิยามศัพท์เฉพาะ
เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กปฐมวัยชาย หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี ศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนเทศบาล 2 สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ อำเภอเมือง จังวัดเพชรบูรณ์
ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
1.ทักษะการสังเกต หมายถึง เด็กสามารถบอกความเเตกต่าง บอกลำดับวัตถุ จัดสิ่งของให้เป็นหมวดหมู่ โดยใช้เกณฑ์ในการจัดเเบ่ง
2.ทักษะการจำเเนกประเภท หมายถึง ความสามารถในการแบ่งพวก เรียงลำดับวัตถุโดยมีเกณฑ์ เกณฑ์ดังกล่าวอาจจะใช้ ความเหมือน ความเเตกต่าง หรือความสัมพันธ์ อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
3.ทักษะหามิติสัมพันธ์ หมายถึง ความสามารถในการบอกความสัมพันธ์ในการบอกความสัมพันธ์ในมิติต่างๆ ได้แก่ รูปร่างหรือรูปทรง ขนาด
สมมุติฐานงานวิจัย
เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ มีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้นกว่าก่อนการทดลอง
วิธีการดำเนินการวิจัย
1.กำหนดกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยครั้งนี้คือ เด็กปฐมวัยชาย หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี ศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนเทศบาล 2 สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ อำเภอเมือง จังวัดเพชรบูรณ์ มีขั้นตอนในการเลือกกลุ่มตัวอย่างดังนี้
1.1 เลือกกลุ่มตัวอย่างจากนักเรียน 6 ห้องเรียน โดยจับฉลากมา 1 ห้องเรียนโดยได้นักเรียนชั้นอนุบาล 3/1 จำนวน 30 คน
1.2 จากกลุ่มตัวอย่างในข้อ 1 สุ่มอย่างง่ายอีกครั้ง
2.เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
-แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ
-แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
3.ขั้นตอนการวิจัย
-ขอความร่วมมือผู้บรหารโรงเรียนในการทำวิจัย
-ชี้แจงให้ครูประจำชั้นทราบรูปแบบงานวิจัย และขอความร่วมมือ
-สร้างความคุ้นเคยกับเด็กกลุ่มตัวอย่างเป็นระยะเวลา 3 สัปดาห์
-ก่อนทำการทดลองผู้ทำการทดลองวิจัยต้องทดลองการทำก่อน
-ดำเนินการทดลองโดยการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ ที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ระหว่างวันที่ / สิงหาคม 2554 ถึง 22 กันยายน 2554 ใช้เวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน ได้เเก่ วันจันทร์ พุธ ศุกร์ วันละ 40 นาที ในช่วงกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เวลา 09.00 - 09.40 น. รวมทั้งสิ้น 24 ครั้ง
-เมื่อเสร็จสิ้นการดลอง 8 สัปดาห์ ประเมินหลังการทดลองด้วยแบบทดสอบวิทยาศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น pre - Test เพื่อเปรียบเทียบก่อน หลังการทดลอง และใช้คะเเนนเป็นตัววิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีทางสถิติสมมุติฐานเพื่อนสรุปงานวิจัยต่อไป
สรุปผลการวิจัย
1.ก่อนใช้แผนการจัดกิจกรรมเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ เด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับปานกลางทั้งโดยรวมและจำเเนกทักษะ หลังจากการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติเด็กปฐมวัยกลุ่มตัวอย่างอยู่มีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ทั้งโดยรวมและจำเเนกรายทักษะอยู่ในระดับมากที่สุด
2.หลังการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติเด็กปฐมวัยีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้นกว่าก่อนใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติทั้งโดยรมและรายทักษะอย่างมีนัยสำคัญจากสถิติที่ลำดับ 01
ประเมินตนเอง
ความรู้ที่ได้รับ
ความรู้ที่ได้รับคือ ทราบถึงการทำโครงการ และการนำวัสดุจากท้องถิ่น วัสดุจากธรรมชาติไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และความรู้นี้สามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนในอนาคตได้ และเราสามารถนำไปใช้สร้างรายได้สร้างอาชีพได้ อีกทั้งยังได้ประสบการณ์ที่ดีในการนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
หลังจากเสร็จกิจกรรมอ่านบทความที่ตนเองนำมาเสนอ วันนี้อาจารย์ผู้สอนก็นำกิจกรรมเกี่ยวกับการทำอาหารมาให้นักศึกษาได้ทดลองทำ โดยสัปดาห์นี้เป็นการทำการทดลอง เรื่องคุณสมบัติของน้ำ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
งานวิจัยวิทยาศาสตร์
เรื่องการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ผู้เเต่ง
นางยุพาภรณ์ ชูลาย
ชื่อเรื่อง
การเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
จุดมุ่งหมาย
1.เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
2.เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติก่อนและหลังการทดลอง
นางยุพาภรณ์ ชูลาย
ชื่อเรื่อง
การเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
จุดมุ่งหมาย
1.เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
2.เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติก่อนและหลังการทดลอง
ตัวเเปรต้น
เรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติตัวแปรตาม
ที่มีผลต่อทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัย
นิยามศัพท์เฉพาะ
เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กปฐมวัยชาย หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี ศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนเทศบาล 2 สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ อำเภอเมือง จังวัดเพชรบูรณ์
ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
1.ทักษะการสังเกต หมายถึง เด็กสามารถบอกความเเตกต่าง บอกลำดับวัตถุ จัดสิ่งของให้เป็นหมวดหมู่ โดยใช้เกณฑ์ในการจัดเเบ่ง
2.ทักษะการจำเเนกประเภท หมายถึง ความสามารถในการแบ่งพวก เรียงลำดับวัตถุโดยมีเกณฑ์ เกณฑ์ดังกล่าวอาจจะใช้ ความเหมือน ความเเตกต่าง หรือความสัมพันธ์ อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
3.ทักษะหามิติสัมพันธ์ หมายถึง ความสามารถในการบอกความสัมพันธ์ในการบอกความสัมพันธ์ในมิติต่างๆ ได้แก่ รูปร่างหรือรูปทรง ขนาด
สมมุติฐานงานวิจัย
เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ มีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้นกว่าก่อนการทดลอง
วิธีการดำเนินการวิจัย
1.กำหนดกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยครั้งนี้คือ เด็กปฐมวัยชาย หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี ศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนเทศบาล 2 สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ อำเภอเมือง จังวัดเพชรบูรณ์ มีขั้นตอนในการเลือกกลุ่มตัวอย่างดังนี้
1.1 เลือกกลุ่มตัวอย่างจากนักเรียน 6 ห้องเรียน โดยจับฉลากมา 1 ห้องเรียนโดยได้นักเรียนชั้นอนุบาล 3/1 จำนวน 30 คน
1.2 จากกลุ่มตัวอย่างในข้อ 1 สุ่มอย่างง่ายอีกครั้ง
2.เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
-แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ
-แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
3.ขั้นตอนการวิจัย
-ขอความร่วมมือผู้บรหารโรงเรียนในการทำวิจัย
-ชี้แจงให้ครูประจำชั้นทราบรูปแบบงานวิจัย และขอความร่วมมือ
-สร้างความคุ้นเคยกับเด็กกลุ่มตัวอย่างเป็นระยะเวลา 3 สัปดาห์
-ก่อนทำการทดลองผู้ทำการทดลองวิจัยต้องทดลองการทำก่อน
-ดำเนินการทดลองโดยการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ ที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ระหว่างวันที่ / สิงหาคม 2554 ถึง 22 กันยายน 2554 ใช้เวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน ได้เเก่ วันจันทร์ พุธ ศุกร์ วันละ 40 นาที ในช่วงกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เวลา 09.00 - 09.40 น. รวมทั้งสิ้น 24 ครั้ง
-เมื่อเสร็จสิ้นการดลอง 8 สัปดาห์ ประเมินหลังการทดลองด้วยแบบทดสอบวิทยาศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น pre - Test เพื่อเปรียบเทียบก่อน หลังการทดลอง และใช้คะเเนนเป็นตัววิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีทางสถิติสมมุติฐานเพื่อนสรุปงานวิจัยต่อไป
สรุปผลการวิจัย
1.ก่อนใช้แผนการจัดกิจกรรมเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ เด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับปานกลางทั้งโดยรวมและจำเเนกทักษะ หลังจากการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติเด็กปฐมวัยกลุ่มตัวอย่างอยู่มีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ทั้งโดยรวมและจำเเนกรายทักษะอยู่ในระดับมากที่สุด
2.หลังการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติเด็กปฐมวัยีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้นกว่าก่อนใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติทั้งโดยรมและรายทักษะอย่างมีนัยสำคัญจากสถิติที่ลำดับ 01
ประเมินตนเอง
ในสัปดาห์นี้ให้คะเเนนตัวเอง 90 คะเเนน เพราะตั้งใจเรียน แต่งกายเรียบร้อย และมีส่วนร่วมในการตอบคำถามในห้องเรียน และร่วมกิจกรรมที่คุณครูผู้สอนนำมาให้ทำ และมีความพร้อมในการนำบทความมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
ประเมินเพื่อน
ในรายสัปดาห์นี้ให้คะเเนนเพื่อน 100 คะเเนน เพราะเพื่อนตั้งใจเรียนและเเต่งกายเรียบร้อย และมีส่วนร่วมในการตอบคำถามในห้องเรียน และร่วมกิจกรรมที่คุณครูผู้สอนนำมาให้ทำ
ประเมินครูผู้สอน
ในรายสัปดาห์นี้ให้คะเเนนครูผู้สอน 100 คะเเนนเพราะครูสอนเข้าใจ เเต่งกายเรียบร้อย เเละเข้าสอนตรงเวลา และนำกิจกรรมดีๆมาให้นักศึกษาได้ทำ